งานวิจัย
โครงการการรวบรวมปัญหาและแนวทางแก้ไขเรื่องหมอกควันไฟป่าให้กับภาคเหนือตอนบน 1 (Compilation of Haze Data Network and Integrated Solution for Possible Solutions of Haze Problem in the Upper Northern Provincial Cluster 1)
รายละเอียดโครงการ
วัตถุประสงค์
1) เพื่อตรวจวัดปริมาณฝุ่นPM2.5 และ PM10ในอากาศทั้งในพื้นที่ภาคเหนือภาคใต้ ภาคกลาง ประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซียโดยใช้เครื่องตรวจจับฝุ่นละอองไร้สายที่พัฒนาขึ้นเอง
2) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี ความเป็นพิษของฝุ่นในอากาศและหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฝุ่นและองค์ประกอบทางเคมีเพื่อประเมินคุณภาพอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ
3) พัฒนาระบบที่จะช่วยให้เกิดระบบเฝ้าระวังฝุ่นละอองและคุณภาพอากาศสำหรับชุมชนในเขตภาคเหนือรวมถึงภาคกลางตอนบน
4) เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านปัญหาหมอกควันในรูปแบบต่างๆ ให้เกิดการติดตามในวงกว้างในทุกระดับทั้งสาธารณะชน ภาครัฐ ภาคเอกชนและผู้ที่สนใจ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1) ด้านวิชาการ
- ได้องค์ความรู้ทางด้านมลพิษทางอากาศจากการเผาในที่โล่งและผลกระทบต่อสุขภาพสำหรับพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
- ได้องค์ความรู้ทางด้านมลพิษทางอากาศจากการเผาในที่โล่งและผลกระทบต่อสุขภาพสำหรับพื้นที่ภาคใต้ ภาคกลาง ประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซีย
- ได้ระบบต้นแบบของการวัดค่าPM2.5และ PM10ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาไม่แพงเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการแบบดั้งเดิม
- ได้ระบบฐานข้อมูลสำหรับการแก้ไขปัญหาด้านหมอกควันและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเขตพื้นที่ภาคเหนือ
2) ด้านสังคมและชุมชน
- ชุมชนและสังคมได้รับทราบผลกระทบต่อสุขภาพอันเกิดจากการเผาในที่โล่ง ทำให้มีความตื่นตัวและความตระหนักในเรื่องดังกล่าว รวมทั้งนำไปสู่การกระตุ้นการแก้ปัญหาโดยหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องต่อไป
- ได้กระบวนการผลิตเครื่องตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดเล็กDustDETECสำหรับนำไปสู่การจดสิทธิบัตร
- นำไปสู่ระบบการเฝ้าระวังปัญหาหมอกควันและคุณภาพอากาศสำหรับชุมชน
3) ด้านเศรษฐกิจ
- เมื่อปัญหามลพิษทางอากาศในพื้นที่ได้รับการแก้ไข เศรษฐกิจการท่องเที่ยวจะสามารถดำเนินต่อไปได้โดยไม่มีอุปสรรค และเมื่อสุขภาพของคนในพื้นที่ไม่มีปัญหาก็จะนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจทางอ้อม ทั้งการประหยัดงบประมาณของรัฐบาลในเรื่องการรักษาพยาบาล และการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
- ได้ข้อมูลเบื้องต้นที่สามารถนำไปขยายผลนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์
- ได้ระบบฐานข้อมูลที่สามารถนำไปต่อยอดในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านปัญหาหมอกควัน รวมไปถึงสามารถเป็นข้อมูลการตัดสินใจในการผลักดันตามนโยบายเพื่อส่งเสริมการจัดการคุณภาพอากาศในอนาคตได้
ระยะเวลาดำเนินการ
ปีที่ 1: กรกฎาคม 2559-กรกฎาคม 2560
ปีที่ 2: เมษายน 2561-เมษายน 2562
สรุปผลการดำเนินงาน/บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์
1) เพื่อตรวจวัดปริมาณฝุ่นPM2.5 และ PM10ในอากาศทั้งในพื้นที่ภาคเหนือภาคใต้ ภาคกลาง ประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซียโดยใช้เครื่องตรวจจับฝุ่นละอองไร้สายที่พัฒนาขึ้นเอง
2) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี ความเป็นพิษของฝุ่นในอากาศและหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฝุ่นและองค์ประกอบทางเคมีเพื่อประเมินคุณภาพอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ
3) พัฒนาระบบที่จะช่วยให้เกิดระบบเฝ้าระวังฝุ่นละอองและคุณภาพอากาศสำหรับชุมชนในเขตภาคเหนือรวมถึงภาคกลางตอนบน
4) เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านปัญหาหมอกควันในรูปแบบต่างๆ ให้เกิดการติดตามในวงกว้างในทุกระดับทั้งสาธารณะชน ภาครัฐ ภาคเอกชนและผู้ที่สนใจ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1) ด้านวิชาการ
- ได้องค์ความรู้ทางด้านมลพิษทางอากาศจากการเผาในที่โล่งและผลกระทบต่อสุขภาพสำหรับพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
- ได้องค์ความรู้ทางด้านมลพิษทางอากาศจากการเผาในที่โล่งและผลกระทบต่อสุขภาพสำหรับพื้นที่ภาคใต้ ภาคกลาง ประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซีย
- ได้ระบบต้นแบบของการวัดค่าPM2.5และ PM10ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาไม่แพงเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการแบบดั้งเดิม
- ได้ระบบฐานข้อมูลสำหรับการแก้ไขปัญหาด้านหมอกควันและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเขตพื้นที่ภาคเหนือ
2) ด้านสังคมและชุมชน
- ชุมชนและสังคมได้รับทราบผลกระทบต่อสุขภาพอันเกิดจากการเผาในที่โล่ง ทำให้มีความตื่นตัวและความตระหนักในเรื่องดังกล่าว รวมทั้งนำไปสู่การกระตุ้นการแก้ปัญหาโดยหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องต่อไป
- ได้กระบวนการผลิตเครื่องตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดเล็กDustDETECสำหรับนำไปสู่การจดสิทธิบัตร
- นำไปสู่ระบบการเฝ้าระวังปัญหาหมอกควันและคุณภาพอากาศสำหรับชุมชน
3) ด้านเศรษฐกิจ
- เมื่อปัญหามลพิษทางอากาศในพื้นที่ได้รับการแก้ไข เศรษฐกิจการท่องเที่ยวจะสามารถดำเนินต่อไปได้โดยไม่มีอุปสรรค และเมื่อสุขภาพของคนในพื้นที่ไม่มีปัญหาก็จะนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจทางอ้อม ทั้งการประหยัดงบประมาณของรัฐบาลในเรื่องการรักษาพยาบาล และการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
- ได้ข้อมูลเบื้องต้นที่สามารถนำไปขยายผลนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์
- ได้ระบบฐานข้อมูลที่สามารถนำไปต่อยอดในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านปัญหาหมอกควัน รวมไปถึงสามารถเป็นข้อมูลการตัดสินใจในการผลักดันตามนโยบายเพื่อส่งเสริมการจัดการคุณภาพอากาศในอนาคตได้
ระยะเวลาดำเนินการ
ปีที่ 1: กรกฎาคม 2559-กรกฎาคม 2560
ปีที่ 2: เมษายน 2561-เมษายน 2562
รายนามนักวิจัย
วัตถุประสงค์
1) เพื่อตรวจวัดปริมาณฝุ่นPM2.5 และ PM10ในอากาศทั้งในพื้นที่ภาคเหนือภาคใต้ ภาคกลาง ประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซียโดยใช้เครื่องตรวจจับฝุ่นละอองไร้สายที่พัฒนาขึ้นเอง
2) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี ความเป็นพิษของฝุ่นในอากาศและหาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณฝุ่นและองค์ประกอบทางเคมีเพื่อประเมินคุณภาพอากาศและผลกระทบต่อสุขภาพ
3) พัฒนาระบบที่จะช่วยให้เกิดระบบเฝ้าระวังฝุ่นละอองและคุณภาพอากาศสำหรับชุมชนในเขตภาคเหนือรวมถึงภาคกลางตอนบน
4) เพื่อประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านปัญหาหมอกควันในรูปแบบต่างๆ ให้เกิดการติดตามในวงกว้างในทุกระดับทั้งสาธารณะชน ภาครัฐ ภาคเอกชนและผู้ที่สนใจ
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1) ด้านวิชาการ
- ได้องค์ความรู้ทางด้านมลพิษทางอากาศจากการเผาในที่โล่งและผลกระทบต่อสุขภาพสำหรับพื้นที่ภาคเหนือตอนบน
- ได้องค์ความรู้ทางด้านมลพิษทางอากาศจากการเผาในที่โล่งและผลกระทบต่อสุขภาพสำหรับพื้นที่ภาคใต้ ภาคกลาง ประเทศมาเลเซีย และอินโดนีเซีย
- ได้ระบบต้นแบบของการวัดค่าPM2.5และ PM10ที่มีประสิทธิภาพสูงและราคาไม่แพงเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการแบบดั้งเดิม
- ได้ระบบฐานข้อมูลสำหรับการแก้ไขปัญหาด้านหมอกควันและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในเขตพื้นที่ภาคเหนือ
2) ด้านสังคมและชุมชน
- ชุมชนและสังคมได้รับทราบผลกระทบต่อสุขภาพอันเกิดจากการเผาในที่โล่ง ทำให้มีความตื่นตัวและความตระหนักในเรื่องดังกล่าว รวมทั้งนำไปสู่การกระตุ้นการแก้ปัญหาโดยหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องต่อไป
- ได้กระบวนการผลิตเครื่องตรวจวัดฝุ่นละอองขนาดเล็กDustDETECสำหรับนำไปสู่การจดสิทธิบัตร
- นำไปสู่ระบบการเฝ้าระวังปัญหาหมอกควันและคุณภาพอากาศสำหรับชุมชน
3) ด้านเศรษฐกิจ
- เมื่อปัญหามลพิษทางอากาศในพื้นที่ได้รับการแก้ไข เศรษฐกิจการท่องเที่ยวจะสามารถดำเนินต่อไปได้โดยไม่มีอุปสรรค และเมื่อสุขภาพของคนในพื้นที่ไม่มีปัญหาก็จะนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจทางอ้อม ทั้งการประหยัดงบประมาณของรัฐบาลในเรื่องการรักษาพยาบาล และการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน
- ได้ข้อมูลเบื้องต้นที่สามารถนำไปขยายผลนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์
- ได้ระบบฐานข้อมูลที่สามารถนำไปต่อยอดในการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารด้านปัญหาหมอกควัน รวมไปถึงสามารถเป็นข้อมูลการตัดสินใจในการผลักดันตามนโยบายเพื่อส่งเสริมการจัดการคุณภาพอากาศในอนาคตได้
ระยะเวลาดำเนินการ
ปีที่ 1: กรกฎาคม 2559-กรกฎาคม 2560
ปีที่ 2: เมษายน 2561-เมษายน 2562
ลิงก์ข้อมูลเพิ่มเติม: https://www.cmuccdc.org/opendata